@ขอบเลี่อย-ขอบกระบอก-ขอบปั้มตัด-ฐานกลึง@

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย stoes, 22 กรกฎาคม 2011.

  1. ทิพย์มงคล

    ทิพย์มงคล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2011
    โพสต์:
    3,892
    ค่าพลัง:
    +8,215
    ขอบคุณครับพี่ stoes สำหรับความรู้ดีๆ
     
  2. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    เรื่องของขอบเหรียญปั้มข้างขอบเลื่อย ขอบบังคับหรือขอบกระบอก
    ก็จบไปแล้วสองเรื่อง เพื่อน ๆ พี่ ๆ น้อง ๆ พอเข้าใจไหมครับ
    อย่างไรก็อยากให้ค่อย ๆ อ่านทำความเข้าใจ ถ้าอยากถามอะไรผมตอบได้
    หรือยังตอบไม่ได้ในตอนนี้ก็จะพยามยามไปหาคำตอบมาตอบให้
    ในสองเรื่องแรก เพราะเป็นเพียงตัวอย่าง ซึ่งน้อยแต่หวังว่าคงจะเป็นประโยชน์
    และเรื่องที่สามคงไม่ยากสำหรับทุกคนและผมก็จะหาตัวอย่างของขอบเหรียญรุ่นใหม่
    ที่ตัดทีเดียวแบบทันสมัยในยุคนี้มานำเสนอ หรือเพื่อน ๆ จะร่วมหามาลงก็ได้นะครับ
    ถ้าคิดว่าเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม แต่ต้องแน่ใจว่าแท้ครับ
     
  3. armchi

    armchi เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    1,631
    ค่าพลัง:
    +2,031
    ขอบคุณมากครับพี่stoesกำลังหาข้อมูลอยู่พอดีครับผม
     
  4. ลูกมังกร

    ลูกมังกร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กันยายน 2010
    โพสต์:
    1,461
    ค่าพลัง:
    +1,424
    เข้ามารออ่านความรู้ต่อ พี่อยู่แถวบางขุนเทียนหรอครับ ว่างๆๆ จะได้ให้ไปสอนดู อิอิ
     
  5. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    ขอบเหรีญปั้มตัดสมัยยุค 2500 ขึ้นมาถึง 2557 ศุึกษาตามรูปครับ

    3. เหรียญปั๊มตัดยุค พ.ศ. 2500-ปัจจุบัน ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาตัวตัดด้านข้างเหรียญที่ทันสมัย
    เพื่อความสะดวกในการตัดเหรียญในจำนวนมากๆ
    การพัฒนาตัวตัดยุคนี้จึงค่อนข้างคมชัด บางครั้งในเหรียญหลวงพ่อ
    เดียวกันมีตัวตัด 2 ตัว เนื่องจากการสร้างเหรียญในแต่ละครั้งมีจำนวนมากขึ้น
    เช่น
    เหรียญหลวงปู่ทวด วัดช้างให้ รุ่นแรก ปี พ.ศ. 2500
    ด้วยเหตุนี้ตัวตัดในยุคนี้จึงค่อนข้างคมเพื่อสะดวกในการตัดเหรียญจำนวนมากๆ




    เหรียญบนนี้เป็นเหรียญหลวงปู่ทวด หลวงพ่อทอง
    วัดสำเภาเชย ปี 2545 ครับ
    เหรียญหลวงปู่ทวด วัดเอี่ยมวรนุช ปี 2506
    อยู่ด้านล่างครับ

    เห็นรอยคูดไหมครับ และลงไปพ้นรอยคูดจะมีอีกชั้นหนึ่ง
    ก่อนที่เนื้อโลหะจะแยกจากกันด้วยแรงกระแทกของเครื่องปั้ม
    เกิดชั้นขึ้นอีกชั้นหนึ่ง ผมเรียกว่าชั้นทราย
    เหรียญนี้ยังเห็นไม่ชัดแต่เดี๋ยวผมจะนำมาลงให้ได้ศึกษากันอีก
    เรามาดูเรื่องขอบปั้มยุคนี้กันเพิ่มเติมครับ
    จะเห็นเส้นครู๊ทและชั้นทรายชัดเจนจากหลายภาพ
    ขอบคุณเจ้าของภาพจากเว็บต่าง ๆ ครับ

    [​IMG]
    <img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-out;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145055&amp;stc=1&amp;d=1399191159" width="875" height="340">
    <img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-in;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145055&amp;stc=1&amp;d=1399191326" width="702" height="273">
    <img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-in;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145056&amp;stc=1&amp;d=1399191326" width="538" height="271">
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • woranud2506.jpg
      woranud2506.jpg
      ขนาดไฟล์:
      180.8 KB
      เปิดดู:
      9,543
    • 1220338305.jpg
      1220338305.jpg
      ขนาดไฟล์:
      28.8 KB
      เปิดดู:
      6,823
    • 1220338375.jpg
      1220338375.jpg
      ขนาดไฟล์:
      27.1 KB
      เปิดดู:
      4,850
    • 0011-1.jpg
      0011-1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      64.3 KB
      เปิดดู:
      1,418
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 พฤษภาคม 2014
  6. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    เรื่องขอบเหรียญ ขอบต่าง ๆ Q จำใจ, Q บังคับ,Q ตกใจ

    เหรียญนาคปรก 8 รอบ หลวงปู่ทิม พิมพ์อุใหญ่วัดละหารไร่ จังหวัดระยอง เนื้อทองแดง
    เหรียญนาคปรก 8 รอบ หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ จังหวัดระยอง อุใหญ่ พิมพ์นิยม
    เป็นที่ระลึกในงานทำบุญฉลองอายุ 8 รอบ 96 ปี ของหลวงปู่ทิมในปี พ.ศ. 2518
    องค์นี้เป็นพิมพ์ อุใหญ่ไม่มีโค๊ด เพียงแค่จำขอบข้างรอยตัดแค่ด้านเดียวก็พอครับ
    แต่อย่างไรก็ดูหน้าดูหลังให้ดีก่อน
    เพิ่มเติมเมื่อ 4/5/57
    ขอบข้างปั้มยุคปัจจุบัน 2500
    ไม่ว่าเราจะดูขอบเหรียญปั้มตัดยุคนี้
    คว่ำ หงาย เอียง เราก็จะเห็น
    เส้นน้ำตกรอยครู๊ทของเครื่องปั้มโลหะที่มีแรง
    กระแทกมหาศาลทำปฏิกิริยากับแผ่นโลหะเพื่อให้เกิดรูปแล้ว
    บ้างเครื่องก็ทำหน้าที่ตัดโลหะที่ปั้มให้ขาดออกจากกัน
    จนทำให้เราเห็นขอบข้างมีทั้งรอยตัดเส้นครู๊ท
    และขั้นทรายที่เกิดขึ้น เนื่องจากโลหะ
    ถูกแยกออกจากกันด้วยแรงอัดอันมหาศาล
    ถึงแม้ว่าโลหะในส่วนนั้นจะรักกันเพียงใดก็ตาม
    จึงเป็นที่มาของชั้นทรายเม็ดเล็ก ๆ ครับ !

    [​IMG]
    <img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-in;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145078&amp;stc=1&amp;d=1399191572" width="270" height="269"><img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-in;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145079&amp;stc=1&amp;d=1399191572" width="276" height="265"><img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-in;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145080&amp;stc=1&amp;d=1399191572" width="300" height="263"><img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-in;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145081&amp;stc=1&amp;d=1399191572" width="314" height="261"><img style="-webkit-user-select: none" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145082&amp;stc=1&amp;d=1399191572">

    ---------------------------------------
    ขอบข้างปั้มกระบอกยุค 2440 -2485
    ต่างจากการปั้มขอบกระบอก ที่ช่าง
    ได้ทำการเลื่อยโลหะขึ้นรูปก่อน แล้วจึงนำไปปั้ม
    ในขอบบังคับ รอยเลื่อยจึงหายไปเพราะแรงปั้มหน้าและหลัง
    ด้วยมีแรงอัดอันมาหาศาลมากจึงทำให้ด้านข้างของขอบเหรียญ
    ที่นายช่างฝากรอยเลื่อยอยู ไปปะทะกับขอบบังคับ
    ทำให้เส้นรอยเลื่อยหายไป ยิ่งขอบบังคับแข็งแรง
    และเรียบ ขอบเหรียญที่ได้ก็จะยิ่งเรียบเนียนเช่นกัน
    <img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-out;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145127&amp;stc=1&amp;d=1399193682" width="750" height="1000"><img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-out;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145128&amp;stc=1&amp;d=1399193682" width="812" height="1083"><img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-out;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145129&amp;stc=1&amp;d=1399193682" width="625" height="392"><img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-out;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145130&amp;stc=1&amp;d=1399193682" width="358" height="218"><img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-in;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145131&amp;stc=1&amp;d=1399193682" width="215" height="192">
    ------------------------------------------
    ขอบข้างที่ช่างเลื่อยออกยุคประมาณ 2440
    ส่วนขอบเลื่อยของเหรียญที่ยังไม่มีวิวัฒนาการนั้น
    เกิดขึ้นในช่วง ยุค 2440-2460 เพราะช่าง
    ไม่รู้จักวิธีการสร้างเครื่องปั้มที่ตัดทันสมัย
    ฤา จะนำโหละที่เป็นแผ่นใหญ่
    ที่ถูกปั้มขึ้นรูปพระแล้วไม่ทำการตัด
    เวลานำห้อยก็จะหนักเกินไป
    ประเดี๋ยวคอจะหักจะเค้นกันเปล่า ๆ
    อย่ากระนั้นเลย อย่าว่านายช่างใจดำเลย
    จึงได้ทำการค่อย ๆ เลื่อยออก ถึงแม้ว่าโลหะส่วนนั้นจะรักกันเพียงใด
    ก็ตาม ก็จำต้องค่อย ๆ แยกออกจากกัน จึงเป็นที่มาของขอบเลื่อย
    ซึ่งต่างจากขอบกระบอกที่ถูกพ่อแม่บังคับ
    และต่างจากขอบปั้มทันสมัยที่ถูกเครื่อง
    ซึ่งทำหน้าที่เหมือนโจร ใช้ปื่นที่มีความแรงอันมหาศาล
    ยิ่งเอาจนโลหะจำต้องแยกจากกันแบบไม่ทันตั้งตัว
    <img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-in;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145139&amp;stc=1&amp;d=1399195114" width="622" height="186">
    <img style="-webkit-user-select: none" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145141&amp;stc=1&amp;d=1399195273">
    <img style="-webkit-user-select: none; cursor: -webkit-zoom-out;" src="http://palungjit.org/attachment.php?attachmentid=3145142&amp;stc=1&amp;d=1399195310" width="1000" height="800">
    จินตนาการเหนือกว่าความรู้
    สรุป....หลักสูตร
    ขอบเลื่อยค่อย ๆ แยกออกจากกันแบบจำใจ/ไม่เต็มใจ
    ขอบกระบอก แยกออกจากกันแบบถูกบังคับ
    ขอบปั้มยุคปัจจุบัน แยกออกแบบไม่ทันรู้ตัวและตกใจ

    ขอบคุณตัวอย่างเหรียญจากเว็บต่าง ๆ

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • nakprokuyai.jpg
      nakprokuyai.jpg
      ขนาดไฟล์:
      201.6 KB
      เปิดดู:
      19,416
    • 10147.jpg
      10147.jpg
      ขนาดไฟล์:
      50.1 KB
      เปิดดู:
      22,107
    • 10148.jpg
      10148.jpg
      ขนาดไฟล์:
      49.8 KB
      เปิดดู:
      21,976
    • 00120.jpg
      00120.jpg
      ขนาดไฟล์:
      31.8 KB
      เปิดดู:
      28,038
    • 00143.jpg
      00143.jpg
      ขนาดไฟล์:
      31.4 KB
      เปิดดู:
      20,706
    • imagesCA68N0W4.jpg
      imagesCA68N0W4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.3 KB
      เปิดดู:
      17,872
    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      52.6 KB
      เปิดดู:
      1,856
    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      71.4 KB
      เปิดดู:
      4,214
    • 6.jpg
      6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.8 KB
      เปิดดู:
      1,424
    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      52.6 KB
      เปิดดู:
      22,291
    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      71.4 KB
      เปิดดู:
      23,706
    • 3.JPG
      3.JPG
      ขนาดไฟล์:
      32.8 KB
      เปิดดู:
      20,457
    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      124.9 KB
      เปิดดู:
      22,951
    • 6.jpg
      6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      1.8 KB
      เปิดดู:
      1,396
    • 3.JPG
      3.JPG
      ขนาดไฟล์:
      133.9 KB
      เปิดดู:
      1,738
    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      43.7 KB
      เปิดดู:
      1,939
    • 4.JPG
      4.JPG
      ขนาดไฟล์:
      21.5 KB
      เปิดดู:
      20,555
    • เหรียญขอบเลื่อย.jpg
      เหรียญขอบเลื่อย.jpg
      ขนาดไฟล์:
      37.9 KB
      เปิดดู:
      18,782
    • IMG_21133.jpg
      IMG_21133.jpg
      ขนาดไฟล์:
      39.8 KB
      เปิดดู:
      1,443
    • IMG_21133.jpg
      IMG_21133.jpg
      ขนาดไฟล์:
      39.8 KB
      เปิดดู:
      16,991
    • 444.JPG
      444.JPG
      ขนาดไฟล์:
      21.5 KB
      เปิดดู:
      17,199
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 พฤษภาคม 2014
  7. น้องออมสิน

    น้องออมสิน สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    147
    ค่าพลัง:
    +9
    เห็นแสงสว่างบนฝากะลาแล้วครับ

    ขอบคุณครับพี่สโตร์ ตอนนี้ก็เหลือแต่ตัวเองแล้วที่จะดิ้นรนออกจากกะลามาเจอโลกกว้างได้อย่างไร ขอบคุณครับ ขอบคุณมากๆ
     
  8. narmja

    narmja เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    7,921
    ค่าพลัง:
    +8,496
    เยี่ยมครับพี่ ให้ สิบดาว
     
  9. Phaake

    Phaake เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    1,818
    ค่าพลัง:
    +319
    แซวนิด หยิบ มาลงแต่ละเหรียญนะฮะ...
     
  10. Dek_watpa

    Dek_watpa เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    2,608
    ค่าพลัง:
    +4,517
    เป็นไปตามสโลแกนที่ว่า "เหรียญแท้จบที่ขอบขอรับกระผม" ตามมาอ่านหาความรู้อีกรอบครับ
     
  11. deccc00

    deccc00 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    167
    ค่าพลัง:
    +6
    สุดยอดคับ เดี๋ยวผมกลับไปดูขอบเหรียญที่บ้านมั้ง ถ้าถ่ายชัดเดียวลงรูปให้พิจารณากันบ้างคับ
     
  12. ืnbclassic

    ืnbclassic สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2011
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +8
    ขอบคุณครับ เหมือนดูรายการ ตาสว่าง เลย
     
  13. ทิพย์มงคล

    ทิพย์มงคล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2011
    โพสต์:
    3,892
    ค่าพลัง:
    +8,215
    ขออนุญาติพี่ stoes ลงภาพประกอบด้วยครับ

    ที่มา: หนังสือ ศึกษาและสะสม ฉบับที่ 112
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • t1.jpg
      t1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      270.2 KB
      เปิดดู:
      1,834
    • t2.jpg
      t2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      266.2 KB
      เปิดดู:
      1,763
    • t3.jpg
      t3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      251.4 KB
      เปิดดู:
      2,098
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กรกฎาคม 2011
  14. pinyo_ole

    pinyo_ole เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    471
    ค่าพลัง:
    +2,950
    พี่ๆ ครับ รบกวนถามรุ่นนี้ ขอบเลื่อย หรือเปล่าครับ

    พี่ๆ ครับ รบกวนถามรุ่นนี้ (หลวงพ่อสาย) ขอบเลื่อย หรือเปล่าครับ

    เห็นเขาบอกว่า จุดตายอยู่ที่ขอบ:cool:

    ขอบคุณครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_2850.JPG
      IMG_2850.JPG
      ขนาดไฟล์:
      444.1 KB
      เปิดดู:
      471
    • IMG_2853.JPG
      IMG_2853.JPG
      ขนาดไฟล์:
      467.1 KB
      เปิดดู:
      431
  15. สัญญาใจ

    สัญญาใจ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    25
    ค่าพลัง:
    +3
    กระทู้นี้มีองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์มาก ขอบคุณพี่ Stoes ที่สามารถถ่ายทอดความรู้
    ได้เยี่ยมจริง ๆ นับถือ ๆ
     
  16. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    [​IMG]

    ขอบพระคุณคุณทิพย์มงคล นี่แหละครับมาก
    มีตัวอย่างเต็ม ๆ เหรียญ ตรงอันดับที่สี่ไหมครับ
    มองแล้วไม่เกิดข้อสงสัยครับ เป็นเหรียญอะไรพอทรับไหมครับ
    ถ้าไม่มีตัวอย่างขอชื่อเหรียญก็ได้ครับ
     
  17. ทิพย์มงคล

    ทิพย์มงคล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2011
    โพสต์:
    3,892
    ค่าพลัง:
    +8,215
    ในนิตยสาร ไม่ได้มีบอกครับพี่ stoes
     
  18. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    เหรียญหลวงพ่อสาย วัดพยัคฆาราม รุ่น 2
    สร้าง 2482 มีเนื้อเงินและทองแดงรมดำ
    ของปลอมมีจำนวนมาก เพราะนิยมมาก
    และของปลอมสร้างได้ใกล้เคียงมาก ๆ การพิจารณา
    คือความคมชัดของเส้นผม และหนวดเคา
    ส่วนพื้นเหรียญต้องเรียบตึง ไม่บวม เป็นเหรียญปั้มข้างกระบอก
    แต่เนื้อเงินมักจะมีร่องรอยการแต่งขอบด้วยครับ
     
  19. supparerk

    supparerk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มกราคม 2011
    โพสต์:
    526
    ค่าพลัง:
    +388
    ขอขอบคุณมากครับ ที่มอบความรู้ให้
     
  20. pinyo_ole

    pinyo_ole เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    471
    ค่าพลัง:
    +2,950
    ขอบคุณมากครับ พี่

    ขอบคุณมากครับ พี่ ได้ความรู้มากๆ ครับ


    (พอดีเป็นคนชอบเก็บเหรียญ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_2933.JPG
      IMG_2933.JPG
      ขนาดไฟล์:
      578 KB
      เปิดดู:
      523

แชร์หน้านี้

Loading...